หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาและผู้นำทางการศึกษา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา : มหาวิทยาลัยสยาม
คณะ/ภาควิชา : บัณฑิตวิทยาลัย สาขาศึกษาศาสตร์

  1. ชื่อหลักสูตร
    ภาษาไทย : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาและผู้นำทางการศึกษา
    ภาษาอังกฤษ : Master of Education Program in Educational Administration and Leadership
  2. ชื่อปริญญา
    ชื่อเต็ม (ไทย)    : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษาและผู้นำทางการศึกษา)
    ชื่อย่อ (ไทย)      : ศษ.ม (การบริหารการศึกษาและผู้นำทางการศึกษา)
    ชื่อเต็ม (อังกฤษ): Master of Education (Educational Administration and Leadership)
    ชื่อย่อ (อังกฤษ) : M.Ed.  (Educational Administration and Leadership)
  3. วิชาเอก
    การบริหารการศึกษาและผู้นำทางการศึกษา
  4. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
    แผน ก แบบ ก2 ทำวิทยานิพนธ์ จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 42 หน่วยกิต
    แผน ข ทำสารนิพนธ์ จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 42 หน่วยกิต
  5. รูปแบบของหลักสูตร
    • รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาโท ระยะเวลาสำเร็จการศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ไม่ก่อน 1 ปีการศึกษาและไม่เกิน 5 ปีการศึกษา
  6. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
    1. มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์ทางการบริหารการศึกษา และภาวะผู้นำทางการศึกษา สามารถประยุกต์ใช้ เพื่อการพัฒนาวิชาชีพทางการบริหารการศึกษา
    2. มีความรู้ในศาสตร์สาขาต่างๆ ร่วมทั้งนวัตกรรมใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อนำไปสู่การประยุกต์ใช้ในการบริหารในยุคของการเปลี่ยนแปลง เพื่อก้าวสู่ความเป็นสากล
    3. มีความสามารถในการวิเคราะห์ สังเคราะห์องค์ความรู้ เพื่อนำไปใช้การทำวิจัยเพื่อเป็นประโยชน์และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการบริหารการศึกษา  หน่วยงาน และองค์การทางการศึกษา
    4. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์  มีวิสัยทัศน์    สามารถวางแผนกลยุทธ์ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อการพัฒนาการศึกษาให้เป็นไปตามเป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา
    5. มีบุคลิกภาพของผู้นำทางการศึกษาที่เหมาะสม  มีคุณธรรมและจริยธรรม  กล้าแสดงออก  มีความสามารถในการแก้ปัญหา  มีเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครู  และวิชาชีพผู้บริหารการศึกษา  และผู้บริหารสถานศึกษา
  7. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาและการคัดเลือก
    • เป็นผู้สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรี   หรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศ ที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) รับรอง
    • คุณสมบัติอื่น ๆ ให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสยาม กำหนด
  8. ระบบการจัดการศึกษา
    • ระบบการจัดการศึกษาที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอนเป็นระบบทวิภาค ภาคการศึกษาละ 15 สัปดาห์ ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
    • การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนการจัดการเรียนการสอนภาคฤดูร้อน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการพิจารณาของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
  9. การดำเนินการหลักสูตร
    • วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน ทำการเรียนการสอนนอกเวลาราชการ  วันเสาร์ – วันอาทิตย์เวลา 09.00 น. – 16.30 น.
  10. สถานที่จัดการเรียนการสอนบัณฑิตวิทยาลัยสาขาศึกษาศาสตร์ อาคารเฉลิมพระเกียรติ (อาคาร 19) ชั้น 9 มหาวิทยาลัยสยาม
  11. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาและการคัดเลือก
    • เป็นผู้สำเร็จการศึกษาขั้นปริญญาตรี   หรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาในประเทศหรือต่างประเทศ ที่สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) รับรอง
    • คุณสมบัติอื่น ๆ ให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสยาม
  12. โครงสร้างหลักสูตร
    1. หลักสูตรแผน ก แบบ ก 2 ทำวิทยานิพนธ์และศึกษางานรายวิชาเพิ่มเติม 42 หน่วยกิต
      • หมวดวิชาบังคับ 18 หน่วยกิต
      • หมวดวิชาเลือก 6 หน่วยกิต
      • หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
      • วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
    2. หลักสูตรแผน ข ทำสารนิพนธ์ เน้นการศึกษางานรายวิชาโดยไม่ต้องทำวิทยานิพนธ์ 42 หน่วยกิต
      • หมวดวิชาบังคับ 18 หน่วยกิต
      • หมวดวิชาเลือก 15 หน่วยกิต
      • หมวดวิชาเลือกเสรี  6 หน่วยกิต
      • การศึกษาอิสระ  3 หน่วยกิต
    3. รายวิชาในหลักสูตร
      หมวดวิชาพื้นฐาน (ไม่นับหน่วยกิต)
      751 101    ปรัชญาการศึกษา    3(3-0-9)
      (Educational Philosophy)751 102    จิตวิทยาการศึกษา    3(3-0-9)
      (Educational Psychology)

      หมวดวิชาบังคับ จำนวน 18 หน่วยกิต
      700 111    ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์    3(3-0-6)
      (Research Methodology for Social Sciences)

      700 201   ภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑิตศึกษา    3(3-0-6)
      (English for Graduate Study)

      751 111    ระบบบริหารการศึกษาไทย    3(3-0-9)
      (Thai Educational Administration System)

      751 113    หลักการและทฤษฎีการบริหารการศึกษา       3(3-0-9)
      (Principles and Theories of Educational Administration)

      751 114    นโยบายและการวางแผนทางการศึกษา    3(3-0-9)
      (Educational Policy and Planning)

      751 115    ทฤษฎีภาวะผู้นำ    3(3-0-9)
      (Leadership Theory)

      หมวดวิชาเลือกจำนวน 6 หน่วยกิต เลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้
      751 221    วิธีวิจัยทางการศึกษา      3(2-2-4)
      (Research Methods in Education)

      751 222    การบริหารวิชาการและการพัฒนาหลักสูตร    3(3-0-9)
      (Academic Administration and Curriculum Development)

      751 223    การประยุกต์ใช้ทฤษฎีภาวะผู้นำ    3(2-2-4)
      (Application of Leadership Theory)

      751 224    การบริหารบุคลากรทางการศึกษา    3(3-0-9)
      (Personnel Administration in Education)

      751 225    กฎหมายการศึกษา    3(2-2-4)
      (Legal Aspects of Education)

      751 226    การบริหารทรัพยากรการศึกษา    3(2-2-4)
      (Management of Educational Resource)

      751 227    เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมทางการศึกษา    3(2-2-4)
      (Information Technology and Educational Innovation)

      751 228    นักบริหารมืออาชีพ    3(2-2-4)
      (Professional Educational Administration)

      751 229    การนิเทศการศึกษา    3(2-2-4)
      (Educational Supervision)

      751 230    การประเมินโครงการ    3(2-2-4)
      (Project Evaluation)

      751 231    การประกันคุณภาพการศึกษา    3(2-2-4)
      (Educational Quality Assurance)

      751 232    ประเด็นและแนวโน้มทางการบริหารการศึกษาไทย    3(2-2-4)
      (Issues and Trends in Thai Educational Administration)

      751 234    การศึกษาพิเศษและการศึกษาทางเลือก    3(2-2-4)
      (Special and Alternative Education)

      751 235    การบริหารการศึกษาเอกชน    3(2-2-4)
      (Private Educational Administration)

      751 236    การบริหารกิจการนักเรียน    3(2-2-4)
      (Student Affairs Administration)

      751 237    องค์กรการศึกษาและการควบคุม    3(3-0-9)
      (Educational Organization and Control)

      751 238    การฝึกประสบการณ์ทางการบริหารการศึกษา    3(3-0-12)
      (Internship in Educational)

      หมวดวิชาเลือกเสรีจำนวน 6 หน่วยกิต โดยเลือกเรียนจากรายวิชาต่อไปนี้
      751 251    การศึกษาโลกาภิวัตน์    3(3-0-9)
      (Global Education)

      751 252    หัวข้อพิเศษในการบริหารการศึกษา    3(0-9-0)
      (Special Topics in Educational Administration)

      751 253    ทฤษฎีพัฒนาประเทศอันเนื่องมาจากพระราชดำริ    3(2-2-4)
      (National Development Theories According to His Majesty’s Initiatives)

      751 254    การบริหารการศึกษาเพื่อพัฒนาชุมชน    3(2-2-4)
      (Educational Administration for Community Development)

      751 255    การศึกษาเปรียบเทียบ    3(2-2-4)
      (Comparative Education)

      และนักศึกษาสามารถเลือกเรียนรายวิชาในสาขาเอกเลือกของสาขาวิชา หรือรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับการบริหารการศึกษาและผู้นำทางการศึกษาที่เปิดสอนในสาขาวิชาอื่น ๆ ในระดับบัณฑิตศึกษาได้

      การค้นคว้าอิสระหรือ วิทยานิพนธ์
      751 241    การศึกษาอิสระ    3(0-9-0)
      (Independent Study)

      751 242    วิทยานิพนธ์    12(0-48-0)
      (Master Thesis)

  13. อาจารย์ประจำหลักสูตร
    ลำดับที่ ชื่อ – สกุล คุณวุฒิ / สาขา
    1 รองศาสตราจารย์ ดร.นายอมรชัย ตันติเมธ Ph.D. (Education Admin.& Supervision),University of Illinois, USA.
    2 ศาสตราจารย์ ดร. นิพนธ์  ศุขปรีดี Ed.D. (Education Media),University of Northern Colorado, USA.
    3 พล.ร.ต. ดร.หญิงสุภัทรา เอื้อวงศ์ ค.ด. (การบริหารการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    4 รองศาสตราจารย์ ดร. บุญมี  เณรยอด Ed.D (Supervision, Curriculum and Instruction), East Texas State University, Commerce, Texas, USA.
    5 รองศาสตราจารย์ ดร. จอมพงศ์  มงคลวนิช Ph.D (Business Administration), University of  Bath, U.K.
    6 ดร. พยุงศักดิ์  จันทรสุรินทร์ ค.ด. (การอุดมศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    7 ดร.กมล  สุดประเสริฐ Ph.D. (Foundations of  Education), Florida University, USA.
    8 ผู้ช่วยรองศาสตราจารย์ ดร. สมหมายจันทร์เรือง ค.ด. (การอุดมศึกษา) จุฬาลงกรณ์หาวิทยาลัย
    9 ดร.ดุษฎี  สีวังคำ ปร.ด. (เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
    10 ดร.อัญชลี  จันทาโภ กศ.ด. (การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
    11 ดร. บุญส่ง หาญพานิช ค.ด.(อุดมศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  14. อาจารย์พิเศษ
    ลำดับที่ ชื่อ – สกุล คุณวุฒิ / สาขา
    1 ศาสตราจารย์ ดร. วิจิตร ศรีสอ้าน Ph.D. (บริหารการศึกษา), Mininesota University, USA.
    2 ศาสตราจารย์ ดร.พจน์ สะเพียรชัย Ph.D. (จิตวิทยาการศึกษา) Indiana University USA.
    3 รองศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ Ph.D. (international and Development Education/Economics of Education) University of Pittsburgh, PA, USA.
    4 รองศาสตราจารย์ ดร. ทองอินทร์ วงศ์โสธร Ph.D. (บริหารการศึกษา), Mininesota University, USA.
    5 รองศาสตราจารย์ ดร. นรา สมประสงค์ Ed.D.(Education Administration). University of Northern Philippines.
    6 รองศาสตราจารย์ ดร. สิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา Ph.D. (Education Psychology), Michigan State University, USA.
    7 รองศาสตราจารย์ ดร. วรรณี  แกมเกตุ ค.ด. (การวัดผลและประเมินผลการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    8 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชญาพิมพ์  อุสาโห ค.ด. (พัฒนศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
    9 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สิน งามประโคน Ph.D. (ศึกษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยปัญจาบ, อินเดีย